หากร่างกายของเราได้รับกัญชาหรื
นพ.ยศวีร์ อรรฆยากร อายุรแพทย์โรคหัวใจและสรีระไฟฟ้
สำหรับกัญชาที่ในขณะนี้
คำแนะนำในการใช้กัญชาให้
นอกจากการใช้กัญชาที่จะส่งผลต่
การวินิจฉัยโรคหัวใจเต้นผิดจั
- การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-Lea
d Electrocardiography, ECG or EKG) เป็นการตรวจมาตรฐานของหั วใจ โดยวัดการทำงานของไฟฟ้าในหัวใจ สามารถตรวจได้ทันที เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการหั วใจเต้นผิดจังหวะมานานพอก่ อนมาถึงโรงพยาบาล และสามารถตรวจสุขภาพหั วใจประจำปีในผู้ที่ไม่มีอาการผิ ดปกติใด ๆ ได้ด้วย
- เครื่องบันทึกการเต้นของหัวใจต่
อเนื่อง 24 – 48 ชั่วโมง (Holter Monitoring) เป็นอุปกรณ์ขนาดเล็ กที่ใช้บันทึกคลื่นไฟฟ้าหั วใจตลอด 24 – 48 ชั่วโมง โดยผู้ป่วยจะติดเครื่องบันทึ กไว้ติดตัวตลอดเวลา เครื่องจะสามารถตรวจพบความผิ ดปกติของการเต้นของหัวใจได้แม้ ไม่มีอาการ เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการหั วใจเต้นผิดจังหวะทุกวันหรือเกื อบทุกวันในช่วงเวลาสั้น ๆ ไม่นาน ก่อนมาถึงโรงพยาบาล
- เครื่องบันทึกการเต้นของหั
วใจชนิดพกพา (Event Recorder) เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจที่มีลักษณะคล้ายโทรศัพท์ มือถือสามารถพกพาไปที่ต่าง ๆ ได้ เมื่อผู้ป่วยมีอาการให้นำเครื่ องมาทาบที่หน้าอกแล้วกดปุ่มบั นทึก เครื่องจะบันทึกคลื่นไฟฟ้าหั วใจขณะที่มีอาการแล้วส่งข้อมู ลผ่านโทรศัพท์พื้นฐานที่บ้ านมายังโรงพยาบาล เพื่อให้แพทย์ตรวจวินิจฉั ยโดยละเอียด วิธีนี้เหมาะกับผู้ป่วยที่มี อาการหัวใจเต้นผิดจังหวะไม่บ่อย เดือนละประมาณ 2 – 3 ครั้ง มีข้อจำกัดคือผู้ป่วยที่เป็ นลมหมดสติกรณีที่เป็นหัวใจเต้ นผิดจังหวะจะไม่สามารถตรวจด้ วยวิธีนี้ได้
- เครื่องบันทึกการเต้นของหั
วใจชนิดฝังใต้ผิวหนัง (Implanta ble Loop Recorder, ILR) มีขนาดเล็กลักษณะคล้าย USB Flash Drive แพทย์จะฝังไว้ใต้ผิวหนั งบริเวณหน้าอกด้านซ้าย จากนั้นเครื่องจะบันทึกการเต้ นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง โดยเก็บคลื่นไฟฟ้าหัวใจเฉพาะช่ วงเวลาที่หัวใจเต้นผิดจั งหวะตามที่ได้โปรแกรมไว้ก่อนหน้ าหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการเท่านั้ น เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการหั วใจเต้นผิดจังหวะนาน ๆ ครั้ง แต่อาการค่อนข้างรุนแรง อาทิ ผู้ป่วยหมดสติแบบไม่ทราบสาเหตุ เป็นต้น
- การตรวจวัดสมรรถภาพหั
วใจโดยการเดินสายพาน (EST: Exercise Stress Test) เป็นการบันทึกคลื่นไฟฟ้ าหัวใจขณะออกกำลังด้วยการเดิ นบนสายพานเลื่อน (Treadmill) เพื่ อกระตุ้นภาวะหัวใจเต้นผิดจั งหวะขณะออกแรง เหมาะกับการตรวจวินิจฉัยผู้ป่ วยที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยง่าย หรือใจสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ และยังช่วยตรวจวินิจฉัยภาวะกล้ ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลั นได้ด้วย
- การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้
อนความถี่สูง (Echocardiogram) สามารถตรวจดูความผิดปกติ ทางโครงสร้างของหัวใจ ทั้งขนาด รูปร่าง ลักษณะการทำงานของกล้ามเนื้อหั วใจและลิ้นหัวใจ เพื่อตรวจวินิจฉัยความผิดปกติ ของหัวใจ เช่น ผนังกั้นหัวใจหนาตัวผิดปกติ ห้องหัวใจโต ลิ้นหัวใจตีบหรือรั่วผิดปกติ ผนังกั้นหัวใจรั่ว เป็นต้น
- การตรวจทางสรีรวิทยาไฟฟ้าหัวใจ
(Electrophysiology Study) เป็นการตรวจการนำไฟฟ้ าของหัวใจเพื่อหาความผิดปกติ ของการเต้นของหัวใจ โดยแพทย์ จะตรวจการทำงานของระบบไฟฟ้าในหั วใจและกระตุ้นให้เกิดหัวใจเต้ นผิดจังหวะขึ้นเพื่อให้ ทราบสาเหตุที่แท้จริง วิธีนี้เหมาะกับผู้ป่วยที่ไม่ สามารถตรวจหาความผิดปกติด้วยวิ ธีอื่น ๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นได้ สำหรับแนวทางการรักษาโรคหั วใจเต้นผิดจังหวะ หลังจากได้รั บการตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์ เฉพาะทางด้านหัวใจเป็นที่เรี ยบร้อยแล้วแพทย์จะประเมินทางเลื อกการรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่ วยแต่ละรายได้แก่
- การใช้ยาเพื่อปรับจังหวะและอั
ตราการเต้นของหัวใจ ( Antiarrhythmic Drug) ให้ใกล้เคียงระดับปกติ เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ ลดภาวะแทรกซ้อน และลดความรุนแรงที่จะนำไปสู่ การเสียชีวิต
- การช็อกหัวใจด้วยกระแสไฟฟ้า (
Electrical Cardioversion) เพื่อปรับจั งหวะการเต้นของหัวใจให้กลั บมาเต้นในอัตราที่ปกติ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
- การรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจั
งหวะด้วยการจี้ด้วยคลื่นวิทยุ ( Radiofrequency Catheter Ablation, RFCA) แพทย์จะใช้สายสวนหั วใจตรวจหาตำแหน่งความผิดปกติ ภายในหัวใจ จากนั้นจะทำการจี้ด้วยคลื่นวิ ทยุที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้ าไปเป็นพลังงานความร้อนเข้าไปตั ดวงจรไฟฟ้าที่ผิดปกติในหัวใจ ปัจจุบันมักใช้ร่วมกับระบบสามมิ ติ (3D Mapping) เพื่อให้มองเห็นตำแหน่ งได้ชัดเจน ลดความเสี่ยงต่อการเกิ ดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นกั บผู้ป่วย ช่วยเพิ่มโอกาสและความสำเร็ จในการรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็ วผิดจังหวะ ซึ่งวิธีนี้มีโอกาสรักษาสำเร็ จสูงมากกว่า 90% โดยจะต้องรั กษากับแพทย์เฉพาะทางด้านสรี ระไฟฟ้าหัวใจที่มีความชำนาญการ
- การผ่าตัดใส่เครื่องกระตุ้นหั
วใจแบบถาวร (Permanent Pacemaker) แพทย์จะฝังเครื่องที่ ใต้ผิวหนังบริเวณใต้ไหปลาร้า เพื่อช่วยให้การเต้นของหัวใจสม่ำ เสมอ ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดียิ่งขึ้น วิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมี ภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติ หรือหัวใจหยุดเต้นเป็นช่วง ๆ
- การผ่าตัดฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้
าหัวใจอัตโนมัติชนิดถาวร ( Automated Implantable Cardioverter – Defibrillator, AICD) แพทย์จะฝังเครื่องบริ เวณหน้าอกเพื่อช่วยตรวจจับสั ญญาณไฟฟ้าหัวใจและช็อกไฟฟ้าหั วใจทันทีที่ผู้ป่วยมีภาวะหั วใจห้องล่างเต้นเร็วผิดจั งหวะเพื่อให้จังหวะการเต้นของหั วใจกลับมาเป็นปกติโดยเร็ว วิธี นี้เหมาะกับผู้ป่วยที่มีกล้ ามเนื้อหัวใจบีบตัวอ่อนกำลัง และผู้ป่วยที่มีหัวใจห้องล่ างเต้นเร็วผิดจังหวะ
- การผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้
าและช่วยการบีบตัวของหัวใจ(Card iac Resynchronization Therapy – CRT) เพื่อกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจห้ องล่างซ้ายและขวาให้บีบตัวได้ สอดคล้องกัน ช่วยให้หัวใจทำงานได้ดีขึ้น วิธีนี้เหมาะกับผู้ป่วยที่มี การบีบตัวของหัวใจน้อยและมี ความเสี่ยงหัวใจล้มเหลวการป้องกันหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ ดีที่สุดคือ ออกกำลังกายแบบแอโรบิก 30 – 45 นาทีต่อวัน 3 – 5 วันต่อสัปดาห์ กินอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารหวานจัด มันจัด เค็มจัด หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีฤทธิ์ กระตุ้นหัวใจ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่ างน้อย 6 – 8 ชั่วโมงต่อวัน ไม่เครียดจนเกินไป ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี สำหรับคนที่มีโรคประจำตั วควรตรวจติดตามอาการกับแพทย์อย่ างสม่ำเสมอ ถ้าเกิดรู้สึกว่าหัวใจมีอาการผิ ดปกติควรเข้ารับการรักษาและปรึ กษาอายุรแพทย์โรคหัวใจทันที สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ รพ.หั วใจกรุงเทพ โทร. 02-310-3000 Co ntact Center โทร. 1719 หรือ Heart Care LINE Official: @hearthospital